Page 8 - เอกสารการคัดเลือสหกรณ์ดีเด่น สอ.มมส.
P. 8
5
ผู้ได้รับความเสียหายเพิ่มขึ้นจ านวนมาก ท าให้สหกรณ์เกิดความตระหนักรู้ว่าช่องทางที่สหกรณ์ใช้
ติดต่อสื่อสารกับสมาชิกผ่านช่องทาง Line Group อาจกระทบข้อมูลส่วนบุคคลของสมาชิกใน
ระดับนัยส าคัญได้ เพื่อป้องกันความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้น สหกรณ์จึงประกาศนโยบายความเป็น
ส่วนบุคคลของสหกรณ์ออมทรัพย์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จ ากัด ยกเลิกการส่งข้อมูลผ่าน Line
Group และน าระบบ MsuCo-op App มาใช้แทน เพื่อปกป้องและรักษาความปลอดภัยของข้อมูล
ส่วนบุคคลของสหกรณ์กับสมาชิกเป็นไปตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วน
บุคคล พ.ศ. 2562 โดยระบบดังกล่าวสามารถโต้ตอบผ่านระบบออนไลน์ได้เพียงสองทางที่มีเพียง
เจ้าหน้าที่สหกรณ์และกรรมการด าเนินการที่รับมอบหมายจากสหกรณ์เท่านั้นที่จะเป็นผู้โต้ตอบได้
ซึ่งข้อมูลที่ใช้ในการโต้ตอบประกอบด้วย ข้อมูลการท าธุรกรรมด้านการเงิน การให้สินเชื่อ การรับ
ฝากเงิน และสวัสดิการ เป็นต้น
์
ปี 2565 – 2566 การพัฒนาโปรแกรมระบบบัญชีสหกรณ์ออมทรัพยมหาวิทยาลัยมหาสารคาม จ ากัด
และการพัฒนาระบบสารสนเทศสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จ ากัด
ในปี 2565 สหกรณ์ได้ตระหนักว่าระบบฐานข้อมูลสมาชิกมีความจ าเป็นต่อการพัฒนา
กิจการสหกรณ์และการพัฒนาคุณภาพชีวิตของสมาชิก แต่ระบบบัญชีสหกรณ์เดิมที่ใช้อยู่ยังเป็น
ระบบ INTRANET ไม่สามารถเชื่อมโยงกับระบบฐานข้อมูลสมาชิกของสหกรณ์ได้ ท าให้การ
ให้บริการสมาชิกสหกรณ์เกิดข้อจ ากัดทั้งด้านการใช้ระยะเวลาตรวจสอบและข้อผิดพลาดจากการ
ปฏิบัติงาน อีกทั้งยังไม่สอดคล้องกับบริบทของสหกรณ์ โดยเฉพาะการอัพเดทข้อมูลทางการเงินที่
ต้องรอการปิดบัญชีประจ าเดือนก่อน จึงจะสามารถอัพเดทข้อมูลให้สมาชิกรับทราบ ซึ่งถือว่ามี
ความล่าช้าเป็นอย่างมาก สหกรณ์จึงได้ริเริ่มโครงการพัฒนาระบบบัญชีสหกรณ์ออมทรัพย์
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จ ากัด และออกแบบการบริหารข้อมูลข่าวสารโดยจัดท าระบบ
สารสนเทศสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จ ากัด ขึ้นใช้เอง ซึ่งเป็นระบบ
ออนไลน์ที่สามารถเชื่อมโยงระบบฐานข้อมูลของสมาชิกและสามารถแสดงผลได้แบบ REALTIME
ุ
เพียงแค่ใช้อปกรณ์ Smartphone สมาชิกก็สามารถเข้าถึงข้อมูลของตนและสามารถติดต่อสื่อสาร
กับสหกรณ์ได้ทุกที่ ทุกเวลา ผ่านระบบ MsuCo-op App ที่มีความสะดวก รวดเร็ว และทันสมัย
ช่วยเพิ่มขีดความสามารถการบริหารจัดการทางการเงินของสหกรณ์ เพิ่มประสิทธิภาพด้านการ
ปฏิบัติของเจ้าหน้าที่โดยลดระยะเวลาในการท างาน สามารถติดตามและปรับปรุงสถานะการเงินได้
อย่างถูกต้อง สอดคล้องกับบริบทของสหกรณ์ฯ อีกทั้งระบบงานที่สหกรณ์ฯพัฒนาขึ้นนี้ สามารถ
น าไปเพิ่มหรือต่อยอดเพื่อเพิ่มมูลค่าทางธุรกิจในอนาคตได้ ทั้งนี้ แม้จะเป็นการเริ่มต้นแต่ก็ได้รับ
ความสนใจจากสหกรณ์อื่นหลายแห่ง ที่ขอเข้าศึกษาดูงาน เพื่อแบ่งปันข้อมูลส าหรับการน าไปใช้ใน
การบริหารจัดการสหกรณ์
จากความมุ่งมั่นในการพัฒนาระบบบริหารจัดการมาอย่างต่อเนื่อง มีการพัฒนาคุณภาพ
ชีวิตของสมาชิก โดยการเปิดโอกาสให้สมาชิกได้รับการส่งเสริมอาชีพพัฒนาระบบงานและพัฒนา